ศูนย์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม

ร่วมกันติดตาม เรียนรู้ และแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน

รายงานสถานการณ์ศูนย์ข้อมูล

ข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทั่วโลกและในประเทศไทย

เกี่ยวกับศูนย์ Climate Change

ศูนย์ Climate Change มีภารกิจหลัก : เป็นหน่วยบริการข้อมูล คำแนะนำ ข้อเสนอแนะ และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการดำเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพ

พันธกิจของเราคือการสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และกระตุ้นให้เกิดการลงมือทำเพื่อลดผลกระทบต่อโลกของเรา

Communication
Coordination
Creation
Capacity Building
เรียนรู้เพิ่มเติม

ปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย

ข้อมูลการลดก๊าซเรือนกระจกรายภาคส่วน (MtCO2eq)

อัปเดตล่าสุด: 2565
Thailand Flag

ภาพรวมระดับประเทศ

ข้อมูลการลดก๊าซเรือนกระจกรายภาคส่วน (MtCO2eq)

ปีข้อมูล 2564
60.33
MtCO2eq
ปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจกของไทย ระหว่างปี 2564 - 2565
ปีข้อมูล 2567
65.23
MtCO2eq
คิดเป็น 11.75% เทียบกับกรณีปกติ(BAU)
การรายงานผลการดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจก จะรายงานเป็นทางการมี Lag Time 2 ปี
การลดก๊าซเรือนกระจกตาม NDC เทียบกับกรณีปกติ(BAU) ณ ปี ค.ศ.2030

ภาพรวมประเทศ

385.94
MtCO2eq

การปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ในปี พ.ศ. 2565

37.5
MtCO2eq

เป้าหมายการลดก๊าซตามแผน NDC Action Plan

การสนับสนุนจากต่างประเทศ(6.7%)

65.23

ปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

(ข้อมูล ณ ปี 2565)

Target เส้นทางสู่ Net-Zero GHG Emission 2065 ของไทย

การปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero GHG Emission) ของไทย

การดำเนินงานเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่าง

Energy การปล่อยก๊าซเรือนกระจก 7 ชนิด จากแหล่งกำหนดโดยกิจกรรมของมนุษย์
Agriculture การดูดกลับก๊าซเรือนกระจกจากป่าไม้ และเทคโนโลยีดักจับและกักเก็บคาร์บอน
ก๊าซเรือนกระจก 7 ชนิด ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ในตรัสออกไซด์ ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน เผอร์ฟลูออโรคาร์บอน ซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ ไนโตรเจนไตรฟลูออไรด์
Energy

พลังงาน

MtCO2eq
54.03
MtCO2eq
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) -
เป้าหมายตามแผน NDC 2573 124.6
ปริมาณลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 54.03
Transport

คมนาคมขนส่ง

MtCO2eq
0.44
MtCO2eq
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) -
เป้าหมายตามแผน NDC 2573 45.6
ปริมาณลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 0.44
Industry

กระบวนการทางอุตสาหกรรม

MtCO2eq
0.84
MtCO2eq
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 40.52
เป้าหมายตามแผน NDC 2573 1.4
ปริมาณลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 0.84
Waste

การจัดการของเสียและน้ำเสีย

MtCO2eq
6.67
MtCO2eq
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 22.17
เป้าหมายตามแผน NDC 2573 9.1
ปริมาณลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 6.67
Agriculture

เกษตร

MtCO2eq
3.25
MtCO2eq
การปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 68.93
เป้าหมายตามแผน NDC 2573 4.1
ปริมาณลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (2565) 3.25

Chart แนวโน้มการลดก๊าซเรือนกระจก

ผลและสรุปค่าเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศทไทยรายปี

ที่มาข้อมูล: องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) | กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ภาพรวมสรุปข้อมูลกิจกรรม

การขับเคลื่อนด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความหลากหลายทางชีวภาพ ระดับจังหวัด

CO2 การลดการปล่อย GHG
GHG
58,662.24
kgCO2eq
ปริมาณการลดก๊าซเรือนกระจก จากการดำเนินกิจกรรมของ ทสจ.ระดับจังหวัด
Activities กิจกรรมทั้งหมด
รวม
กิจกรรม
11
ลดก๊าซ
38
ปรับตัว
9
อื่นๆ
Reduction กิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก
ลดก๊าซ
11
กิจกรรม
Adaptation กิจกรรมปรับตัว
ปรับตัว
38
กิจกรรม

วิดีโอ YouTube

ทสจ On Tour รักษ์ระยอง แยกขยะ X ทอดไม่ทิ้ง

2025-06-25

รายการกิจกรรมระดับจังหวัด

ส.ค. 2568

กิจกรรมล่าสุด

ไม่มีข้อมูลกิจกรรม

ภาพกิจกรรม

ผลกระทบจากอุณหภูมิโลกที่เพิ่มสูงขึ้น

1.5°C
1.5°C

ผลกระทบระดับปานกลาง

  • ระดับน้ำทะเล: เพิ่มขึ้น 48 ซม.
  • น้ำ: ขาดแคลนน้ำในกลุ่มเนดิเตอรเรเนียน ออสเตรเลีย บราซิล และเอเชีย
  • อาหาร: ข้าวสาลี ข้าว ข้าวโพดและถั่วเหลือง ผลผลิตลดลง
  • พืช สัตว์ ท้องถิ่น (FLORA & FAUNA): แนวปะการัง 9 ใน 10 อยู่ในภาวะเสี่ยงฟอกขาว
2°C
2°C

ผลกระทบระดับรุนแรง

  • ระดับน้ำทะเล: เพิ่มขึ้น 56 ซม.
  • น้ำ: ประชากรโลกร้อยละ 8 ประสบปัญหาขาดแคลนน้ำรุนแรง
  • อาหาร: ผลผลิตทางการเกษตรลดลงอย่างมาก
  • พืช สัตว์ ท้องถิ่น (FLORA & FAUNA): สูญเสียแนวประการังทั้งหมด
3°C
3°C

ผลกระทบระดับวิกฤต

  • ระดับน้ำทะเล: เพิ่มขึ้น 7+ เมตร
  • น้ำ: ธารน้ำแข็งบนเทือกเขาหิมาลัยละลายเกินครึ่ง
  • อาหาร: พันธุ์ปลาท้องถิ่นสูญพันธ์
  • พืช สัตว์ ท้องถิ่น (FLORA & FAUNA): ระบบนิเวศทางทะเลอาจจะล่มสลาย
4°C
4°C

ผลกระทบจากอุณหภูมิโลกที่เพิ่มสูงขึ้น

  • ระดับน้ำทะเล: เพิ่มขึ้น 9 เมตร
  • น้ำ: ปัญหาภัยแล้วรุนแรงและบ่อยขึ้น
  • อาหาร:วิกฤตความมั่นคงทางด้านอาหาร การพัฒนาด้านต่างๆ ถอถอย
  • พืช สัตว์ ท้องถิ่น (FLORA & FAUNA): พืชพรรณและสัตว์ท้องถิ่นครึ่งหนึ่งเสี่ยงสูญพันธ์
1.5°C - ปานกลาง
2°C - รุนแรง
3°C - วิกฤต
4°C - หายนะ

แนวทางและการคาดการณ์

พลังงานสะอาด

การเปลี่ยนไปใช้พลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานน้ำ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตไฟฟ้า

เรียนรู้เพิ่มเติม

การคมนาคมที่ยั่งยืน

การส่งเสริมการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ ยานพาหนะไฟฟ้า และการเดินทางที่ไม่ปล่อยมลพิษ เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคการขนส่ง

เรียนรู้เพิ่มเติม

การบริโภคอย่างยั่งยืน

การลดการบริโภคเนื้อสัตว์ การลดขยะอาหาร และการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

เรียนรู้เพิ่มเติม

เครื่องมือคำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ในชีวิตประจำวัน "Net Zero Man"

คาร์บอนฟุตพริ้นท์ของบุคคล คือ

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมในชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคล ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ ได้แก่ การใช้ไฟฟ้าภายในที่พักอาศัย การเดินทางมาทำงานและเพื่อการท่องเที่ยว รวมทั้งการรับประทานอาหารและเครื่องดื่ม โดยทุกคนเข้าไปดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่นชื่อ “Net Zero Man” ซึ่งเป็นเครื่องมือคำนวณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ในชีวิตประจำวัน มาช่วยในการคำนวณ โดยมีทั้งใน App Store สำหรับระบบปฏิบัติการ iOS และใน Play Store สำหรับระบบปฏิบัติการ Android

  • ประหยัดพลังงาน

    ปิดไฟและถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อไม่ใช้งาน ใช้หลอดไฟ LED และเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดพลังงาน

  • ลดการใช้พลาสติก

    ใช้ถุงผ้า ขวดน้ำแบบใช้ซ้ำ และหลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว

  • ปลูกต้นไม้

    ต้นไม้ช่วยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์และให้ร่มเงาที่ช่วยลดการใช้พลังงานในการทำความเย็น

  • ลดการบริโภคเนื้อสัตว์

    การผลิตเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะเนื้อวัว ปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณมาก

  • ใช้การขนส่งสาธารณะ

    ใช้รถโดยสารสาธารณะ ขี่จักรยาน หรือเดินแทนการใช้รถยนต์ส่วนตัว

  • สนับสนุนนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม

    สนับสนุนนโยบายและกฎหมายที่ส่งเสริมการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการปกป้องสิ่งแวดล้อม

ที่มา : สถาบันการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (สพท.)